หน้า 1 จากทั้งหมด 1

ใครวางแผนไม่เก่งเข้ามารับรองอ่านจบวางแผนเก่งขึ้นเยอะ

โพสต์เมื่อ: พฤหัสฯ. ธ.ค. 11, 2008 01:36
โดย knightoflaw
The Nike Defence

Manager Type: Jos? Mourinho

Although this mentality structure is basically an adaption of the Rule of One, it is ideally suited to those that wish to play the Mourinho way. It is exceedingly control-orientated and specifies more individual mentality settings than any other system. It closely mirrors Mourinho's tactics in two ways. Firstly, it employs an athletic covering DC to support a powerful destroyer in the manner of the Carvalho/Terry Chelsea partnership. Secondly, the MCd sits slightly deeper than he would in the Rule of One, which equates to how Mourinho employed Mak?l?l?. Like all Rule of One tactics, it suits the Mourinho-type manager as it can do well without excessive creative freedom.

GK: 7
DCd: 6
DC: 8
FB: 10
MCd: 9
ML/R: 11


MCa: 12
FCs: 13

Credit: Justified


The Libero Defence

Manager Type: Fabio Capello

As with the Nike Defence, the Libero Defence is a reworking of the Rule of One. Like Mourinho, Capello is very specific about how he wishes each of his players to perform and always employs a deep holding midfielder. However, unlike Mourinho he encourages one of his DCs to advance forward with the ball in the manner of a classic Libero, as seen by Rio Ferdinand's performances under Capello for England. Allowing a deeper defensive line than the Nike Defence, the Libero Defence better suits the type of controlled, possession football Capello prefers in contrast to Mourinho's direct, muscular approach.

GK: 8
DC: 8
DCa: 13
FB: 9
MCd: 8
MR/L: 11
MCa: 13
FCs: 14

Credit: Jaswarbrick


Rule of One (RoO)

Manager Type: Martin O'Neill

The Rule of One plays roughly in the same manner as a Martin O'Neill tactic. Like Mourinho and Capello, O'Neill is very fastidious about tactics and expects each of his players to fulfil a specific function. However, he has had much less chance to work with genuinely world-class players, which has led to him employing a more generic system into which players of lesser quality are able to operate. In applying detailed specific mentality and player instructions, O'Neill can overachieve without the need for highly creative or flair players in his attacking line. Relying on detailed tactical structure enables him to employ lowish levels of creative freedom without a drop in performance.

GK: 7
DC: 8
FB: 9
MCd: 10
ML/R: 11
MCa: 12
FCs: 13

Credit: wwfan


Bands of Two

Manager Type: Alex Ferguson

Sir Alex is the first manager that deviates from a very tight control methodology. Manchester Utd's system, most especially in the Queiroz years, operates through four bands of play. While the central defenders are predominantly instructed to defend (unlike when playing for Capello, Ferdinand stays back) the full backs and defensive midfielder offer deep support for the front line alongside their defensive duties. The attacking midfielder and wingers have become virtually interchangeable, switching roles in the high support band, and are usually allowed their creative heads. The final band is the spearhead forward, ideally a complete player who is comfortable playing with the ball at his feet or in the air.

GK: 8
DC: 8
FB: 10
MCd: 10
ML/R: 12
MCa: 12
FCs: 14

Credit: wwfan & Millie


Role Theory

Manager Type: Arsene Wenger

Moving towards the more expressive mentality systems, in which control structure meets individual responsibility, we find Arsene Wenger. Unlike the other systems, here the mentality matches the player role within the team's overall match strategy and thus changes depending on how many players are assigned to specific roles. When playing an attacking strategy, the five attacking roles are on the same mentality, whereas when playing a defensive system, five roles are assigned defensive mentalities. The player's role rather than his individual skills or team system becomes the most important aspect of play. When everything fits into place and all the roles interact perfectly, the football is magical.

Defensive Roles: 8
Supporting Roles: 11
Attacking Roles: 14

Credit: wwfan & Millie


2-6-2 Mentality

Manager Type: Marcelo Lippi

Lippi's teams have traditionally been some of the more expressive in Italian football, partly to do with his charismatic manner generating team spirit, but mainly due to his flexible approach to tactics. The 2-6-2 system allows considerable flexibility in the middle of the park, with six players interlinking as support group for the attack and defence. As with most Italian approaches, this system can frustrate opponents by dominating possession deep on the pitch as the back two interact with the midfield in an eight player passing system prior to instantaneously turning defence into attack as one of the front players is suddenly picked out in space.

GK: 8
DCs: 8
FBs: 11
MCd: 11
ML/R: 11
MCa: 11
FCs: 14

Credit: zagallo


5x5 Theory

Manager Type: Rafa Benitez

Although Benitez doesn't come immediately to mind as a Libertarian, his structural approach to tactics is a simple one, relying on five players to defend and five to attack. Although he has transformed Liverpool into a team that is very difficult to break down, criticisms remain with regard to his attacking intentions and lack of width. In typical Spanish manner, Benitez wants his front five to play with creativity and flair, unlocking opposing defences via quick-fire passing interchanges. Without players who have the vision and touch to unlock defences in tight areas this translates into many efficient but dour matches. However, with the right players and creative freedom allowances up front, scintillating attacking play will complement resolute defence.

GK: 8
DC: 8
FB: 8
MCd: 8
ML/R: 12
MCa: 12
FCs: 12



เครดิต........เวปนอกครับ ( ใครเก่งภาษาปะกิตช่วยแปลด้วยนะครับขอบคุณมาก )

โพสต์เมื่อ: พฤหัสฯ. ธ.ค. 11, 2008 01:36
โดย knightoflaw
แปลนะครับ

ตัวอย่าง แผนของ มูริญโญ่ NIKE DEF จุดเด่นคือ ให้ มีDC ตัวชน 1 ตัวซ้อน 1 แบบ เทอรี่ คาวาโญ่ และ MCd จะห้อย ต่ำหน่อย แบบมาเคเลเล่ นี่ทำให้ทีมของมูริณโญ่เหนียวแน่นหนาปึ้ก แผนนี้เน้นใช้ความถึกทุย เข้าคุมเกมส์ เน้นวินัยของทีม (Creative Freedom ต่ำ)

เพิ่มเติม การเล่นแบบสวีปเปอร์ เหมาะกับ def line แบบ push up ครับ และใช้รับมือกับพวกหน้าเดี่ยวที่คอยเคาเตอร์ได้ดีด้วย กองหลังต้องมีสปีดดี stamina สูงด้วย (เพราะดันสูง) ข้อดีคือทำให้ AM ฝ่ายตรงข้ามทำเกมส์ยาก และ การครองบอลของทีมจะดีกว่าปกติ

GK 8
DCd 6
DC 8
FB 10
MCd 9
ML/R 11
MCa 12
ST 13

ตัวอย่าง ลิเบอโร่ DEF ของคาเปลโล่ คล้ายๆของมู แต่คาเปลโล่ ชอบลิเบอโร่คลาสสิค ดังนั้นเราจะเห็นริโอ ขึ้นสูงเสมอๆ ในทีมชาติอังกฤษ แนวนี้จะทำให้ครองเกมส์ได้ดี

เพิ่มเติม ลิเบอโร่ เหมาะกับ Def line แบบ deep ครับ ทำให้คนที่เป็นลิเบอโร่มีเวลาวิ่งกลับไปเล่นเกมส์รับได้

GK 8
DCd 8
DC 13
FB 9
MCd 8
ML/R 11
MCa 13
ST 14

ตัวอย่าง Rule of One แนว มาร์ติน โอนีล แผนนี้ดีมากสำหรับนักเตะไม่ บิ๊กเนม เพราะถึงทีมคุณจะไม่มีสตาร์ก็เล่นเป็นระบบได้ดี (ใช้creative freedom ต่ำ ทีมมีวินัยสูง)
GK 7
DC 8
FB 9
MCd 10
ML/R 11
MCa 12
ST 13

Band of two แบบ เฟอร์กี้ เป็นแผนที่สร้างชื่อให้เฟอร์กี้ เพราะกองหลังมีหน้าที่รับอย่างเดียว FB จะซัพพอร์ท ปีก และ เกมส์รับ ส่วน Ma และปีก 2 ข้าง จะส่งบอลหากันได้ตลอดเวลา ทำให้ creative พุ่งกระฉูด ส่วนกองหน้าจะเป็นตัวเป้าขนานแท้ เล่นได้ทั้งโด่งและเท้า
GK 8
DC 8
FB 10
MCd 10
ML/R 12
MCa 12
ST 14

Role Theory ของ เวงเกอร์เน้นที่หน้าที่ โดยเน้นใช้ fwd run กล่าวคือ

ตัวที่ติ๊ก fwd run = atk roles
mixed fwd run = supporting roles
fwd run rarely = defensive roles

ถ้าเวงเกอร์จะเล่นเกมส์บุก จะใช้ atk/support/def roles เป็นแบบนี้คือ 5/2/3 ถ้าเฉยๆ ก็ใช้ 3/4/3 ถ้าจะอุดใช้ 2/3/5 และแผนของเวงเกอร์คือ... ทุกตัวที่เล่น roles เดียวกันจะมีค่า mental เท่ากัน

ตัวอย่าง
เวงเกอร์บอกจะลุยแหลก เลยตั้งให้ DR DL ML MR AM เป็น fwd run (atk roles) DM DC 2 ตัว เป็น Def roles และ กองหน้าคู่ เป็น Support roles

Mental จะเป็นแบบนี้
GK 8
DL 14
DR14
DC 8
ML 14
MR 14
MCa 14
MCd 8
FC 11

เมื่อนักเตะเล่นเข้ากันได้อย่างไหลลื่น (ปรับตัวได้ นักเตะเหมาะสมกับแผน) magical football ก็จะถือกำเนิด


Def Roles 8
Supporting Roles 11
Att Roles 14

2-6-2 แบบ ลิปปี้ จุดเด่นคือนักเตะ 6 ตัว จะคอยทำงานร่วมกับ หน้า 2 (ถ้าจะบุก) และหลัง 2 (ถ้าจะรับ) ได้อย่างลงตัว ทำให้เคาเตอร์ได้เยี่ยมมาก
GK 8
DC 8
FB 11
MCd 11
ML/R 11
MCa 11
ST 14

5x5 Theroy ของ เบนิเตซ หลักคือ 5 คนรับ 5 คนรุก โยนๆไปแล้วไปบู๊ชีวิตกันข้างหน้าเอาเอง แผนนี้ดีมากถ้า ผู้เล่นแนวรุก มี creative และ flair เยี่ยมยอด
GK 8
DC 8
FB 8
MCd 8
ML/R 12
MCa 12
ST 12

Global Theory ของคีแกน หลักคือ ทุกคน 11 หมด เป็นระบบที่เน้นให้นักเตะแสดงผลของการถูก motivation ออกมา จะดีกับทีมที่มี motivation ดีๆ (จากทีมทอล์ค) และ การโม้กับ นักข่าว นักเตะต้อง creative เยอะๆ และ determination มากๆ นักเตะในทีมจะมีอิสระการเล่นสูง Creative freedom เยอะทุกตัว

โพสต์เมื่อ: พฤหัสฯ. ธ.ค. 11, 2008 01:38
โดย knightoflaw
พอดีอันนี้ผมอ่านจาก game guide ของ FM2009 ครับ ไกด์ก็จะแนะนำคร่าวๆ เกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ พอดีผมแปลเอาไว้อ่านสรุป ก็เลยถือโอกาสเอามาแปะให้เพื่อนๆอ่านด้วยครับ

ป.ล. ผมไม่แตกฉานด้านฟุตบอล ดังนั้นมันอาจห้วนๆ หรือว่าตกหล่นหลายๆอย่างนะครับ


Closing Down เป็นการเข้าเพรสซิ่งเมื่อศัตรูได้บอลแล้ว (ตอนไม่ได้บอลไม่สน)

จุดอ่อนของการ set เป็น always :

กับตัวรุก (ปีก กองหน้า ฟูลแบ๊ค) ที่มีสปีดดีๆ การ closing down ไม่มีประโยชน์ แถมยังเป็นการทำร้ายตัวเอง เพราะตัวพวกนี้มันวิ่งแข่งกับเราได้ ควรตั้งให้ Closing Down เป็น Rarely จะดีกว่า เพราะตัวที่ดีแต่เร็ว พอเจอกับการคุมเชิงแทนจะเป็นการบังคับให้มันต้องใช้เทคนิคในการเลี้ยงผ่านตัวรับของเ
รา
กับตัวรุกที่เทคนิคดีๆ ก็เป็นการฆ่าตัวตายอีกเช่นกัน เพราะกว่าเราจะวิ่งเข้าไปถึงก็เจอหลอกเล่นลิงชิงบอลแล้ว ฟอร์เมชั่นในเกมส์รับจะเสีย ตัวอย่างการเข้าเพรสซิ่งที่เป็นการฆ่าตัวตาย คือ set always ใส่ AMC

งั้นควรใช้กับอะไร?

-สำหรับเวลาเล่น narrow ซึ่งมีจุดอ่อนตรงโดนเจาะปีก ให้ set closing down always ที่ปีก 2 ข้างของศัตรู จะทำให้ แบ๊คเราถ่างเกมส์ออกไปมากขึ้น
-ใช้ always กับ ตัวรุกที่ ช้าและเทคนิคแย่เท่านั้น
-ใช้ closing down กับ DMC ของศัตรู
-ใช้กับกองหลัง หรือโกล์ของศัตรู จะเป็นการบีบให้เกิดความผิดพลาดได้ง่าย



Tight Marking/ Loose Marking



เป็นการลดช่องว่างระหว่างตัวฝ่ายเรากับเป้าหมายตลอดเวลา ไม่เหมือน Closing Down เหมาะที่จะใช้ในสถานการณ์ดังนี้

Tight marking กับ ตัวรุกที่มีเทคนิคดีๆ เช่น AMC
Loose Marking กับ ผู้เล่นที่กระจอกของฝ่ายศัตรู(สกิลต่ำ) เพราะถ้าเราใช้ Tight marking กับพี่เทพของศัตรูไว้บ้างแล้ว มันจะเป็นการบีบให้พวกพี่เทพ ต้องจ่ายให้ ลูกเบ๊ที่ไม่ค่อยเก่งนี่ทำหน้าที่แทน ซึ่งถึงได้บอลไปก็ไม่ค่อยอันตรายเท่าใดนัก (สามารถเก็บกินได้ไม่ยาก)



Tacking

ควรใช้ Hard กับ พวกต่อไปนี้ ถ้าตัวนั้นมีตรงหลายข้อก็ยิ่งได้ผลดี

-ร่างกายอ่อนแอ
-Brave + Determination น้อย
-เทคนิค/สกิลต่ำ (สำคัญมาก)
-ไม่ควรใช้ Hard ใส่ พวกเทคนิคล้ำลึก เพราะจะโดนฟรีคิกง่ายๆ + กับใบเหลือง+แดงอีกบาน



ควรใช้ Easy กับพวก เทคนิคดีๆแต่ร่างกายไม่ดี หรือร่างกายดีแต่เทคนิคแย่ก็ได้(แค่เบียดๆบังๆ พวกนี้สุดท้ายก็ต้องทำฟาล์วกองหลังเราแทน) เป็นการตอดนิดตอดหน่อย


Show on Foot

ไว้ใช้จัดการกับปีกของศัตรู โดยดูจากกองหน้าของศัตรู คือ...

กองหน้า ช้า+สูงใหญ่ --- ให้ใช้เพื่อบีบให้ปีกของศัตรูต้องตัดเข้าใน เพราะถ้าปล่อยให้เปิดได้กองหลังเราจะลำบาก เช่นปีกขวาก็ต้องบีบให้ไปเท้าซ้าย?

กองหน้าเร็ว เล็ก --- ให้ใช้เพื่อบีบให้ปีกต้องออกแนวกว้าง (ไปเปิดโหม่ง) เช่นปีกขวาก็บีบให้ไปเท้าขวา?

ถ้าหน้าเร็ว + สูงใหญ่ - ใช้บีบให้ไปขาข้างไม่ถนัด

แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าแบ๊คเราเจอปีกที่เร็วกว่ามากๆและเทคนิคดี การบีบให้ตัดเข้าในอาจเป็นการฆ่าตัวตายได้ (เช่นทำใส่ โรนัลโด้)

นอกจากนี้ยังสามารถใช้กับ แผงหลังแบ๊คโฟร์ กะโกล์ของคู่แข่งด้วยครับ จะทำให้ความผิดพลาดเกิดได้ง่าย



วิธีจัดการกับตำแหน่งต่างๆ

credit by www.cm-fmthai.com/


AMC เราสามารถMark ด้วย MCd (กลางที่เล่นเกมส์รับ) หรือ DMCของเราในแผนปกติ หรือ.... Set Tight marking ใน Opposition Instruction


DMC เราสามารถMark ด้วย MCa(กลางที่เล่นเกมส์รุก) หรือ AMC หรือ FCd (หน้าต่ำ) ของเราในแผนปกติ หรือ....

Closing Down Always
Show on weaker foot


Lone Striker จัดการหน้าเป้า

กรณีเจอศัตรูใช้แผนอุด ใช้ Closing Down Always + Hard Tackle ตัดมันออกจากเกมส์


ถ้าศัตรูเปิดเกมส์แลก แต่ใช้แผนแบบหน้าเป้า ห้าม set แบบข้างต้นเพราะจะเป็นผลร้าย เพราะจะโดนเปิดช่องว่างในแนวรับให้มิดฟิลด์เข้ามาถล่มเราแทน ให้ใช้ Tight Marking + Tacking Easy + Show on weaker foot จะลดความอันตรายของกองหน้าประเภทนี้ได้

โพสต์เมื่อ: พฤหัสฯ. ธ.ค. 11, 2008 01:39
โดย knightoflaw
ทั้งหมดนี้ขอขอบคุณ www.cm-fmthai.com/ นัครับ

โพสต์เมื่อ: พฤหัสฯ. ธ.ค. 11, 2008 02:14
โดย Crezendo
ยาวดี อ่านเพลินเรย ดีนะชอบ ถ้าเปนหนังสือเรียนนะยาวเท่านี้หลับแน่ ขอบคุณครับ :oops:

โพสต์เมื่อ: พฤหัสฯ. ธ.ค. 11, 2008 09:46
โดย manutd_girl_w
ยาวจังแ่ต่ก็ขอบคุณค่ะ :wink:

โพสต์เมื่อ: พฤหัสฯ. ธ.ค. 11, 2008 10:34
โดย meawmeaw
:wink: เลยครับ

โพสต์เมื่อ: พฤหัสฯ. ธ.ค. 11, 2008 10:59
โดย kongzanova
ขอบคุนมากครับ

เปนความรู้ที่ดีจิงๆ

โพสต์เมื่อ: พฤหัสฯ. ธ.ค. 11, 2008 20:02
โดย knightoflaw
เพิ่มเติมน่ะครับ Passing Style เป็นการกำหนดขอบเขตที่นักบอลของเราจะทำการจ่ายบอลได้

ยกตัวอย่างเช่น ... ถ้าคุณให้แบ๊คโฟร์คุณจ่าย short มากๆ แปลว่ากองหลังตัวนั้นจะพยายามจ่ายบอลสั้นๆเท่านั้น ดังนั้นเมื่อมีกองหน้าศัตรูบีบเข้ามา มันก็จะสับสนแล้วก็เตะทิ้ง เตะขว้างหรือยืนงงจนโดนแย่งได้ครับ ดังนั้นการจ่าย short จึงไม่เหมาะกับกองหลังที่ต้องอยู่ภายใต้ความกดดันครับ

แล้วถ้าเรา set direct ละ? กองหลังเราก็จะทั้งจ่ายสั้นและเตะยาวครับ เหมือนขอบเขตการจ่ายบอลกว้างขึ้นจากแค่ 10 เมตร เป็น ครึ่งสนามอะไรแบบนั้น

งั้นก็ set ให้ long ไว้ดีกว่าสิ? ไม่ดีครับ เพราะถ้าเราให้ limit การจ่ายบอลทุกตัวของทีมเป็นระดับ direct หรือ long จะทำให้บอลกลับมาหน้าประตูเราได้เร็วมาก (เพราะความแม่นยำต่ำกว่าจ่ายสั้น)

แล้วยังงี้ควรทำยังไง?

- กองหลัง ถ้าเราเล่นเกมส์บุก ขึงศัตรูอยู่ที่ครึ่งสนาม ให้เล่น short เพราะเมื่อแย่งบอลกลับมาได้จะได้ป้ายบอลให้กองกลางทำเกมส์เจาะได้อย่างต่อเนื่อง ถ้าเอาแต่โยนก็โดน 10 ตัวฝ่ายนู้นเก็บกินหมด ถ้าเล่นเกมส์ปกติ ก็อาจจะ set direct ถ้าจะอุด ก็อาจจะเล่น long เพราะเราต้องการให้บอลไปไกลเขตโทษให้มากที่สุด

- กองกลาง ปกติก็ mix หรือ direct หน่อยๆก็พอครับ แต่ถ้าหากเรามีกองกลางแบบ ปีร์โล่ คาริค ซาบี้ ที่วางบอลได้แบบเพลย์เมคเกอร์ ก็ควรเพิ่มขอบเขตการจ่ายบอลให้พวกเขาเยอะๆหน่อย เป็น direct มากๆ

- กองหน้า ถ้าเล่นเกมส์รุกให้ ใส่ direct เพราะถ้าหารูไม่ได้ มันจะเตะยาวกลับมาตั้งกันใหม่ (นึกภาพ แมนยู รูนีย์หาทางไปไม่ได้ก็จ่ายยาวกลับไป CB หรือ โกล์) ถ้าต้องการบีบให้กองหน้าเห็นแก่ตัว ไม่จ่ายเผื่อแผ่ก็ set short ก็ดีครับ เพราะถ้าไม่มีเป้าให้จ่าย มันก็จะหาทางยิงเอง คล้ายๆกับ set ปีกให้ cross ball rarely ปีกก็จะพยายามตัดเข้าในครับ

สไตล์ก็เกี่ยวข้องกับ tempo ด้วย แต่ดูเหมือนว่า ถึงคุณจะเล่น short ก็ไม่จำเป็นต้องเล่น slow tempo นะครับ เพราะเราจ่ายกันเร็วๆก็ทำได้เหมือนกัน เพียงแต่เกมส์แนะนำคร่าวๆว่า Direct = fast tempo, shjort = slow tempo