โดยข้อบังคับแบ่งออกเป็น3ช่วง คือ
ช่วง 2011 - 2014 สามารถขาดทุนได้ไม่เกิน 36 ล้านปอน ต่อปี
และอีกช่วงคือ 2014 - 2017สามารถขาดทุนได้ไม่เกิน 24 ล้านปอน
และหลังจากนั้น ทุกทีมจะต้องไม่มีค่าใช้จ่ายมากกว่ารายได้ที่หามาได้อีกต่อไป(ห้ามขาดทุน)
หากสโมสรใดที่ไม่ปฏิบัติตามกฎจะถูกลงโทษทันที
เช่น ตัดสิทธิ์ในการห้ามลงแข่งขัน ฟุตบอลรายการ "ยูฟ่าแชมเปี้ยนลีก" และ"ยูโรป้า คัฟ"
ซึ่งกฏนี้จะพิจารณาโดยดูว่า"รายรับมากกว่ารายจ่ายหรือไม่"
รายรับเช่น ค่าผ่านประตู, เงินที่ได้จากลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสด สปอนเซอร์ผู้สนับสนุน และรวมไปรางวัลจากการแข่งขัน เป็นต้น
รายจ่าย เช่น ค่าเหนื่อยนักเตะ,ค่าซื้อตัวนักเตะ เป็นต้น
ข้อสงสัยคือ แมนเชสเตอร์ ซิตี้มีโอกาสเสี่ยงแค่ไหนที่จะโดนกฏนี้เล่นงาน
รายจ่าย
-ซื้อนักเตะสี่ปีที่ผ่านมา 398 ล้านปอนด์ (2011/12 : 56 ล้านปอนด์, 2010/11 : 124 ล้านปอนด์, 2009/10 : 104 ล้านปอนด์, 2008/09 : 113 ล้านปอนด์)
-ค่าเหนื่อยสี่ปีที่ผ่านมา : 589.8 ล้านปอนด์ (2011/12 : 200 ล้านปอนด์, 2010/11 : 174 ล้านปอนด์, 2009/10 : 133.3 ล้านปอนด์, 2008/09 : 82.6 ล้านปอนด์)
-ค่าใช้จ่ายอื่นๆ : 201/1 ล้านปอนด์ (2011/12 : 60 ล้านปอนด์, 2010/11 : 55.8 ล้านปอนด์, 2009/10 : 46.8 ล้านปอนด์, 2008/2009 : 38.5 ล้านปอนด์)
ผลรวมรายจ่ายทั้งหมด 1197 ล้านปอนด์ (ยังไม่ได้รวมค่าใช้จ่ายปีล่าสุด)
รายรับ
-เงินเทคโอเวอร์ 340 ล้านปอนด์
- เปลี่ยนชื่อสนาม ได้รับเงิน400ล้านปอนด์(ไม่ใช่รายได้ประจำ ผมขอจัดอยู่ในกลุ่มเงินอัดฉีด)
-(เฉพาะพรีเมียร์ลีก)ค่าลิขสิทธ์ถ่ายทอดสด+รายได้ในแต่ละแมตช์+ขายตั๋วเข้าชม ปีละประมาณ 27 ล้านปอนด์ x 4 ปี = 108 ล้านปอนด์
-งานรางวัลจากการแข่งขัน (2011/12(แชปม์) :15.13 ล้านปอนด์, 2010/11(อันดับ3) :13.62 ล้านปอนด์, 2009/10(อันดับ5) :12.10 ล้านปอนด์, 2008/09(อันดับ10) : 8.32 ล้านปอนด์) รวมสีปีเท่ากับ 49ล้านปอนด์
-ขายนักเตะ (ไม่มีข้อมูล) แต่ตลอดสี่ปีไม่น่าขายได้เกิน100ล้าน
ผลรวมรายรับ(คร่าวๆ) ประมาณ 897ล้านปอนด์ (รายรับจากสี่ปีที่ยังไม่ได้หักลบรายจ่าย)
ปล.ที่ผมนำข้อมูลจากหลายๆที่มาประกอบ แน่นอนว่าอาจจะไม่ใช่ข้อมูลทั้งหมด แต่นั้นก็ถือว่าเป็นตัวเลขที่ค่อนข้างเสี่ยงเลยที่เดียว และดูๆแล้วตลอดสี่ปี แมนซิตี้ขาดทุนมาตลอด จึงวิเคราะห์แนวโน้มได้ไม่ยาก
ช่องโหว่ ที่แมนซิตี้อาจนำมาใช้(อีก)
-เงินอัดฉีด โดยอ้างว่าเป็นเงินจากสปอนด์เซอร์
แต่เคสนี้ผมว่ามองได้ผลแค่ในระยะสั้น เพราะระบบการเงินมันจะพัง จำเป็นต้องหาเงินมาอุ้มระบบเรื่อยๆ(เพราะมันขาดสมดุลไปแล้ว) และเมื่อเงินอัดฉีดหมด
ระบบจะล้มละลายแน่นอน
ตารางรายรับ-รายจ่าย

Gate and Matchday income = ค่าตั๋ว
TV and Broadcasting= ค่าลิขสิทธิถ่ายทอดทางทีวี
Commercial = สปอนเซอร์
Wages as a percentage of turnover =อัตตราส่วนรายรับกับรายจ่าย
Net debt = หนี้
interest payable = เงินที่ได้ชำระหนี้
*************
ปี 2010-11 , 77(ค่าตัวที่ซื้อเข้ามา) + 97 (ค่าเหนื่อยและอื่นๆ) = รายจ่าย 174 m
ปี 2011-12 , 75(ค่าตัวที่ซื้อเข้ามา) +(97(เค่าเหนื่อยและอื่นๆเดิม) + ค่าเหนื่อยที่เพิ่มขึ้นอีก) =
ที่มาเกี่ยวกับเงินรางวัลhttp://www.sportingintelligence.com/2011/05/24/where-the-money-went-premier-league-prize-and-tv-payments-for-2010-11-240503/